У Таїланді розгорівся черговий скандал за участю російських туристів. Цього разу інцидент стався через те, що пара привітала працівника національного парку китайською мовою, вважаючи його громадянином Китаю. Це викликало обурення з боку тайця, який сприйняв слова «ні хао» як особисту образу.
Співробітник парку пояснив, що такий жест є принизливим для тайців, які мають свою унікальну культуру, мову та історію. Він заявив, що подібне ставлення є неповагою до національної ідентичності, та пригрозив, що в разі повторення ситуації вимагатиме депортації туристів.
@psiscott คลิปสุดท้ายผมเอาลงในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ การจัดการกับ นทท ที่เหยียดผิวเรา ผมลงเพื่อส่งกำลังใจให้เจ้าหน้าที่และเตือนเสมอว่าคุณทำงานที่สำคัญอย่าให้ใครมาเหยียบย่ำหรือเหยียดผิวเราโดยเฉพาะในฐานะที่เราเป็นเจ้าของประเทศเเที่ยวค้าอาจจะมาเที่ยวทรัพยากรประเทศเราแต่นั้นไม่ได้หมายความว่าเค้ามองข้ามคนไทยได้ สิ่งที่เกิดขึ้นในคลิปก็คือว่าทรายได้ไปเจอนักท่องเที่ยวในเรือที่เรือเค้าเสียแต่ก่อนหน้าที่เราจะเข้าไปถึงเรือผมเห็นว่าตัวผู้ชายเค้าหันไปมองแฟนเค้าแล้วก็พูด “หนีเห่า” แล้วก็หัวเราะทรายเลยใช้จังหวะที่เรือเค้าเสียไปตักเตือนให้เขามีมารยาทต่อผมแล้วเจ้าหน้าที่มากกว่านี้ซึ่งตอนตักเตือนเห็นว่าเค้าไม่สำนึกผิดแล้วก็ ไม่ค่อยนึกถึงผลของสิ่งที่เขาพูดหรือทำ ทรายเลยให้เรือของเขากลับไปที่ฝั่งเพื่อเราได้คุยกันแล้วทำให้เขาเข้าใจว่าการมาเที่ยวประเทศไทยหรือประเทศในทวีปเอเชียเค้าไม่สามารถทำตัวเหยียดผิวคนเอเชียได้แบบนี้…คนไทยบางคนเองอาจจะไแต่ม่นึกถึงมุมนี้แต่การที่เค้ามองว่าเราเป็นคนจีนในสมัยนี้ที่โลกเรามีอินเตอร์เน็ตแล้วเขาสามารถจองตั๋วมาเที่ยวประเทศไทยได้แต่ทำท่าเหมือนเค้าไม่รู้ว่าประเทศไทยไม่ใช่ประเทศเมืองจีนแล้วเราไม่ได้พูดภาษาจีนนั่นน่ะคือความที่เขามองข้ามบุคคลไทยแล้วก็เหยียดผิวของเรา เพราะเขาคิดว่าพวกเราคนเอเชียเราก็เหมือนกันหมด + การที่เขาคิดว่าจะเที่ยวและทำอะไรก็ได้โดยไม่ให้เกียรติเราทำให้เขาผิดหลายด้าน
♬ original sound – ทราย มนุษย์เงือก
Російський турист намагався виправдатися, стверджуючи, що не мав наміру образити і не є расистом. Однак багато користувачів соцмереж засудили поведінку пари, зазначивши, що туризм не дає права ігнорувати чи принижувати місцеву культуру.
Попри підтримку громадськості, керівництво національного парку вирішило звільнити працівника Сирануда Скота за те, що його реакція нібито могла зашкодити іміджу Таїланду. Це викликало ще більшу хвилю обговорень щодо поваги до культурної ідентичності країн Південно-Східної Азії.